ก่อนจะมีการเซลฟี่เป็นครั้งแรก ชาวกรีกและโรมันโบราณมีตำนานเกี่ยวกับคนคนหนึ่งที่ออกจากลุ่มหลงกับภาพลักษณ์ของตัวเอง ในเรื่องเล่านึง นาซิซัสเป็นชายหนุ่มรูปงามที่เดินทางไปทั่วโลกเพื่อจะหาคนรัก หลังจากปฏิเสธนางไม้นามว่า เอคโค เขาเห็นภาพสะท้อนของตัวเองในแม่น้ำและตกหลุมรักหัวปักหัวปำ นาซิซัสไม่อาจจะละจากภาพของตนเองได้และจมน้ำตายในที่สุด ดอกไม้ที่ขึ้นบริเวณที่เขาตาย เราจึงเรียกมันว่าดอกนาซิสซัส
ตำนานได้จับแนวคิดหลักของการลงตัวเองการถึงตัวเองที่เยอะเกินไปและบางทีก็ก่อให้เกิดอันตราย แต่มันไม่ได้เป็นแค่บุคลิกอย่างที่ต้องได้รับการแนะนำ อันที่จริงแล้วมันเป็นกลุ่มของลักษณะที่ถูกจัดจำแนกและศึกษาโดยนักจิตวิทยา
นักจิตวิทยานิยามการหลงตัวเองว่าเป็นการเพ้อหลงผิด คิดจนเขื่อง พวกที่หลงตัวเองในระดับต่างๆที่พวกเขาดูดีกว่า ฉลาดกว่าและมีความสำคัญมากกว่าคนอื่น และนั้นพวกเขาชื่อว่าพวกเขาสมควรได้รับการปฏิบัติเป็นพิเศษ
นักจิตวิทยาจัดการหลงตัวเอง 2 รูปแบบเป็นลักษณะบุคลิก การลงตัวเองคิดว่าตัวเองยิ่งใหญ่และพวกที่ไม่มั่นคงยังมีความผิดปกติทางบุคลิกภาพเกี่ยวกับการลงตัวเองในรูปแบบที่รุนแรงกว่านี้ การหลงตัวเองคิดว่าตัวเองยิ่งใหญ่และรูปแบบที่เรารู้จักกันดี มีลักษณะคือชอบเข้าสังคม ทำตัวเด่นและเรียกร้องความสนใจ พวกหลงตัวเองอย่าคิดว่าตัวเองยิ่งใหญ่ต้องการความสนใจและอำนาจ บางครั้งก็แบบนักการเมือง คนมีชื่อเสียงหรือผู้นำทางวัฒนธรรม แต่แน่ละ ไม่ใช่ว่าทุกคนที่แสวงหาตำแหน่งที่มีอำนาจเหล่านั้นจะเป็นคนหลงตัวเอง หลายคนทำไปเพราะเหตุผลที่ดีเช่น การเติมเต็มศักยภาพของตัวเองหรือช่วยเหลือให้ชีวิตของคนอื่นดีขึ้น
พวกที่หลงเองมองหาอำนาจคือสถานะและความเป็นที่สนใจ ที่จะได้มาพร้อมกับตำแหน่งนั้น ในขณะเดียวกันพวกหลงตัวเองที่ไม่มั่นคงอัดเงียบและเก็บตัว พวกเขารู้ถึงสิทธิเป็นอย่างดีและถูกข่มขู่และทำให้น้อยใจได้โดยง่าย แต่ใน 2 กรณี ด้านมืดของการหลงตัวเอง แสดงออกมาในช่วงเวลาที่ยาวนาน พวกที่หลงตัวเองมักแสดงอาการเห็นแก่ตัว ฉะนั้นผู้นำที่หลงตัวเองอ่ะทำการตัดสินใจที่เสี่ยงหรือไม่ถูกทำนองคลองธรรม และคู่ชีวิตที่ลงตัวเองอาจไม่ซื่อสัตย์และซื่อตรง เมื่อภาพอันแสนหวานของเขาถูกท้าทาย เขาจะไม่พอใจและก้าวร้าว มันเหมือนกับโรคที่ผู้ป่วยรู้สึกดีแต่คนที่อยู่รอบๆเป็นทุกย์
ในแบบที่รุนแรง พฤติกรรมนี้ถูกจัดว่าเป็นความผิดปกติทางจิต ที่เรียกว่าความผิดปกติในบุคลิกภาพแบบหลงตัวเอง มันส่งผลต่อคนในกลุ่มประชากร 1-2 เปอร์เซ็นต์ มักเกิดกับผู้ชาย มันยังตรวจพบได้แต่ได้ผู้ใหญ่ คนหนุ่มสาวโดยเฉพาะเด็กๆอาจจะอยากให้เป็นจุดสนใจ แต่นั่นอาจเป็นแค่ส่วนหนึ่งของการพัฒนาตามปกติ คู่มือการวินิจฉัยและสถิติฉบับที่ 5 ของสมาคมจิตเวชอเมริกันอธิบายลักษณะความผิดปกติทางบุคลิกภาพที่เกี่ยวกับการหลงตัวเองบางอย่างไว้ นั่นรวมถึงความเห็นตัวเองยิ่งใหญ่
ปัญหาเกี่ยวกับความเห็นอกเห็นใจคนอื่น การรู้สิทธิ์ของตนและความต้องการการได้รับการชื่นชมและความสนใจ สิ่งที่ทำให้ลักษณะเหล่านี้เป็นความผิดปกติทางบุคลิก คือพวกมันครอบงำชีวิตของคนและทำให้เกิดปัญหาที่มีนัยยะสำคัญ ลองนึกดูว่าแทนที่จะใส่คู่ชีวิตหรือลูกๆของคุณ คุณใช้พวกเขาเป็นเครื่องมือหาความสนใจหรือความชื่นชม หรือลองคิดว่าแทนที่คุณจะยอมรับการวิจารย์ที่เชื่อถือได้ ที่เกี่ยวกับการทำงานของคุณ คุณกลับบอกทุกคนที่ช่วยคุณว่าพวกเขารับผิดแล้ว
และสาเหตุของการหลงตัวเองคืออะไรกันล่ะ จากการศึกษาฝาแฝดแสดงว่ามันเกี่ยวกับยีนส์ แม้เรายังไม่รู้ก็ถามว่ายีนส์ ไหนที่เกี่ยวข้อง แต่สิ่งแวดล้อมก็สำคัญเช่นกัน พ่อแม่ที่ไม่ยอมให้ลูกติดดิน อาจเลี้ยงลูกเขาให้เป็นคนหลงตัวเองได้ และพ่อแม่ที่บังคับควบคุมอย่างเข้มงวดก็ทำให้ลูกเป็นคนหลงตัวเองได้เช่นกันในแบบเปราะบาง
การหลงตัวเองเหมือนว่าจะมากขึ้นในวัฒนธรรมให้คุณค่ากับบุคลิกภาพและการยกยอตัวเอง อย่างในประเทศสหรัฐอเมริกาการลงตัวเองที่ถือเป็นบุคลิกอย่างหนึ่ง เพิ่มขึ้นตั้งแต่ยุค 1970 เมื่อแรงผลักดันจากสังคมอายุ 60 ทำให้เกิดกระแสความเชื่อมั่นในตัวเองและการเพิ่มขึ้นในวัตถุนิยม และไม่นานมานี้สื่อสังคมออนไลน์ก็จะเพิ่มโอกาสในการยกตัวเองเป็นร้อยเท่าพันทวี แต่สิ่งที่น่าสนใจคือแม้ว่ายังไม่มีหลักฐานที่ชัดเจนว่าสื่อสังคมออนไลน์เพื่อให้เกิดการหลงตัวเอง แต่สื่อเหล่านี้ก็เป็นเครื่องมือที่ทำให้ให้พวกหลงตัวเองแสวงหาสถานะทางสังคมและความสนใจ และคนที่หลงตัวเองก็เปลี่ยนลักษณะเชิงลบของพวกเขาได้หรือไม่
ได้สิ อะไรก็ตามที่ส่งเสริมการสะท้อนความซื่อสัตย์ของพฤติกรรมตนเอง และการใส่ใจคนอื่นเช่น การบำบัดทางจิต หรือ การฝึกความเห็นใจต่อคนอื่นอาจเป็นประโยชน์ ความยากก็คือมันมาทักทายสำหรับคนที่มีความผิดปกติทางบุคลิกภาพแบบหลงตัวเอง ที่จะทำพฤติกรรมด้านดีอย่างนั้นสม่ำเสมอ สำหรับคนหลงตัวเองการแสดงตัวตนแบบไม่หลงตนนั้นยังคงเป็นเรื่องที่ยากหนัก
จิตวิทยาของการหลงตัวเอง
ขอบคุณที่ร่วมแสดงความคิดเห็น
รับโค้ดฟรี : PPCL0ZC0K1PWKK9
มูลค่า : 0.01 บาท
ระยะเวลา : 6 มี.ค. 2568 16:16 - 6 มี.ค. 2568 19:02
ใส่โค้ดที่ : https://www.adrepay.com/activity/facebook/award
จิตวิทยาของการหลงตัวเอง
ขอบคุณที่ร่วมแสดงความคิดเห็น
รับโค้ดฟรี : PPCCP6074DI4VRR
มูลค่า : 0.01 บาท
ระยะเวลา : 4 มี.ค. 2568 16:20 - 4 มี.ค. 2568 19:01
ใส่โค้ดที่ : https://www.adrepay.com/activity/facebook/award
ขอบคุณที่ร่วมแสดงความคิดเห็น
รับโค้ดฟรี : PPC16KW3MJTOHI2
มูลค่า : 0.01 บาท
ระยะเวลา : 2 มี.ค. 2568 01:38 - 2 มี.ค. 2568 04:04
ใส่โค้ดที่ : https://www.adrepay.com/activity/facebook/award
ขอบคุณที่ร่วมแสดงความคิดเห็น
รับโค้ดฟรี : PPCG5BCEKHUBK92
มูลค่า : 0.01 บาท
ระยะเวลา : 1 มี.ค. 2568 10:13 - 1 มี.ค. 2568 12:43
ใส่โค้ดที่ : https://www.adrepay.com/activity/facebook/award
ขอบคุณที่ร่วมแสดงความคิดเห็น
รับโค้ดฟรี : PPCQNRGVL1S5J4I
มูลค่า : 0.01 บาท
ระยะเวลา : 28 ก.พ. 2568 13:14 - 28 ก.พ. 2568 15:45
ใส่โค้ดที่ : https://www.adrepay.com/activity/facebook/award
จิตวิทยาของการหลงตัวเอง
ขอบคุณที่ร่วมแสดงความคิดเห็น
รับโค้ดฟรี : PPCUT4FJW0IPUGM
มูลค่า : 0.01 บาท
ระยะเวลา : 27 ก.พ. 2568 20:10 - 27 ก.พ. 2568 22:57
ใส่โค้ดที่ : https://www.adrepay.com/activity/facebook/award
ขอบคุณที่ร่วมแสดงความคิดเห็น
รับโค้ดฟรี : PPCO556B75V42BP
มูลค่า : 0.01 บาท
ระยะเวลา : 25 ก.พ. 2568 17:23 - 25 ก.พ. 2568 20:05
ใส่โค้ดที่ : https://www.adrepay.com/activity/facebook/award
ขอบคุณที่ร่วมแสดงความคิดเห็น
รับโค้ดฟรี : PPCXZO1LU104WJI
มูลค่า : 0.01 บาท
ระยะเวลา : 25 ก.พ. 2568 02:05 - 25 ก.พ. 2568 04:50
ใส่โค้ดที่ : https://www.adrepay.com/activity/facebook/award
ขอบคุณที่ร่วมแสดงความคิดเห็น
รับโค้ดฟรี : PPCFXXT3JM8E97B
มูลค่า : 0.01 บาท
ระยะเวลา : 23 ก.พ. 2568 11:54 - 23 ก.พ. 2568 14:46
ใส่โค้ดที่ : https://www.adrepay.com/activity/facebook/award
ขอบคุณที่ร่วมแสดงความคิดเห็น
รับโค้ดฟรี : PPCVT710JHA011T
มูลค่า : 0.01 บาท
ระยะเวลา : 22 ก.พ. 2568 11:43 - 22 ก.พ. 2568 14:27
ใส่โค้ดที่ : https://www.adrepay.com/activity/facebook/award
ขอบคุณที่ร่วมแสดงความคิดเห็น
รับโค้ดฟรี : PPC760UFW6CEAID
มูลค่า : 0.01 บาท
ระยะเวลา : 21 ก.พ. 2568 23:14 - 22 ก.พ. 2568 01:46
ใส่โค้ดที่ : https://www.adrepay.com/activity/facebook/award
ขอบคุณที่ร่วมแสดงความคิดเห็น
รับโค้ดฟรี : PPCMTK7S91CEI4T
มูลค่า : 0.01 บาท
ระยะเวลา : 21 ก.พ. 2568 16:08 - 21 ก.พ. 2568 18:48
ใส่โค้ดที่ : https://www.adrepay.com/activity/facebook/award
ขอบคุณที่ร่วมแสดงความคิดเห็น
รับโค้ดฟรี : PPCJFYS5ZVHKQO8
มูลค่า : 0.01 บาท
ระยะเวลา : 21 ก.พ. 2568 16:07 - 21 ก.พ. 2568 18:30
ใส่โค้ดที่ : https://www.adrepay.com/activity/facebook/award
ขอบคุณที่ร่วมแสดงความคิดเห็น
รับโค้ดฟรี : PPCYUA96QW1HUEF
มูลค่า : 0.01 บาท
ระยะเวลา : 19 ก.พ. 2568 09:58 - 19 ก.พ. 2568 12:37
ใส่โค้ดที่ : https://www.adrepay.com/activity/facebook/award
ขอบคุณที่ร่วมแสดงความคิดเห็น
รับโค้ดฟรี : PPCM25ILC2NW173
มูลค่า : 0.01 บาท
ระยะเวลา : 19 ก.พ. 2568 01:12 - 19 ก.พ. 2568 04:07
ใส่โค้ดที่ : https://www.adrepay.com/activity/facebook/award
ขอบคุณที่ร่วมแสดงความคิดเห็น
รับโค้ดฟรี : PPC3RPAW6PNS7MO
มูลค่า : 0.01 บาท
ระยะเวลา : 16 ก.พ. 2568 08:29 - 16 ก.พ. 2568 11:24
ใส่โค้ดที่ : https://www.adrepay.com/activity/facebook/award
ขอบคุณที่ร่วมแสดงความคิดเห็น
รับโค้ดฟรี : PPC1QEN5GE1ZMMO
มูลค่า : 0.01 บาท
ระยะเวลา : 14 ก.พ. 2568 11:26 - 14 ก.พ. 2568 13:52
ใส่โค้ดที่ : https://www.adrepay.com/activity/facebook/award
ขอบคุณที่ร่วมแสดงความคิดเห็น
รับโค้ดฟรี : PPC0D30KC7PN50D
มูลค่า : 0.01 บาท
ระยะเวลา : 13 ก.พ. 2568 14:48 - 13 ก.พ. 2568 17:35
ใส่โค้ดที่ : https://www.adrepay.com/activity/facebook/award
จิตวิทยาของการหลงตัวเอง
ขอบคุณที่ร่วมแสดงความคิดเห็น
รับโค้ดฟรี : PPCWUSLWCMI5UBH
มูลค่า : 0.01 บาท
ระยะเวลา : 8 ก.พ. 2568 18:21 - 8 ก.พ. 2568 21:21
ใส่โค้ดที่ : https://www.adrepay.com/activity/facebook/award
ขอบคุณที่ร่วมแสดงความคิดเห็น
รับโค้ดฟรี : PPC3VP3H4OUMGRO
มูลค่า : 0.01 บาท
ระยะเวลา : 3 ก.พ. 2568 10:05 - 3 ก.พ. 2568 12:57
ใส่โค้ดที่ : https://www.adrepay.com/activity/facebook/award